How Much You Need To Expect You'll Pay For A Good ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

วิกฤตการเรียนรู้: เรียนไปแต่ใช้ไม่ได้ และ (ได้) เรียนน้อยแต่เจ็บมาก

นิพนธ์ พัวพงศกร รำลึกถึง ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์ นักสังคมวิทยา-มานุษยวิทยาคนสำคัญของไทย ผ่านบทเรียนภาคสนามจากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลงานวิจัย

ภาพรวมข้างต้นเป็นเหตุให้เราต้องย้อนกลับมาตั้งคำถามว่า การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาของไทยที่ผ่านมาเป็นอย่างไร และอะไรคือหล่มกับดักที่ทำให้เรายังคงไปไม่ถึงความเสมอภาคที่ควรจะเป็น

กลไกท้องถิ่น คนในพื้นที่มักมีเครือข่ายหรือความสัมพันธ์อันดีกับองค์กรส่วนท้องถิ่น เช่น อบต. ดร.ศุภโชคยกตัวอย่างว่าในกรณีอื่นๆ อย่างเกิดพายุฤดูร้อน หลังคาบ้านเรือนปลิวเสียหาย อบต.สามารถส่งกระเบื้องมาช่วยได้ทันที แต่เมื่อเป็นโรงเรียน ทางโรงเรียนกลับต้องขอเงินไปยังส่วนกลางก่อน กว่าจะได้เงินมา หลังคาก็เปิด เพดานพังหมดแล้ว องค์กรท้องถิ่นไม่สามารถเข้ามาช่วยได้เพราะผิดระเบียบ การปลดล็อกกติกาบางอย่างให้ท้องถิ่นกับโรงเรียนสามารถช่วยเหลือพึ่งพากันได้ จะทำให้แก้ปัญหาเฉพาะในพื้นที่ได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ

เพราะการเรียนรู้ทำให้เกิดศักยภาพการสอนที่เพิ่มมากขึ้น

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

โครงการพัฒนาระบบทดลองการพัฒนาทักษะแรงงานที่ขาดแคลนทุนทรัพย์และด้อยโอกาส

แม้จะเริ่มเข้าเรียนได้เพียงไม่กี่เดือนการเปลี่ยนแปลงก็เกิดขึ้น การเรียนรู้จากหลักสูตร มรภ.รำไพพรรณี สามารถมานำมาทดลองในห้องเรียนได้ทันทีเห็นรีแอคพฤติกรรมนักเรียนจากสิ่งที่ครูได้เรียนมาว่าได้ผลอย่างไร และต้องพัฒนาตรงไหนที่จะสร้างการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ตรงกับเนื้อหา และพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กแต่ละคน เป็นห้องเรียนที่ครูได้ทดลองสิ่งที่เรียนมาและสร้างให้เด็กได้เรียนรู้สนุกไปพร้อมกับครู ครูก็เรียนรู้จากนักเรียน และเป็นพื้นที่ที่ทั้งสองฝ่ายได้เรียนรู้ได้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันอย่างยั่งยืน 

การพัฒนาทักษะต่างๆ จะเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก โดยเด็กคนหนึ่งจะเริ่มพัฒนาทักษะทางการคิดขั้นพื้นฐาน ก่อนจะพัฒนาขั้นที่สูงขึ้นเมื่อเติบโตเป็นวัยรุ่นและเข้าสู่ช่วงผู้ใหญ่ตอนต้น พร้อมๆ กับเริ่มพัฒนาทักษะเชิงเทคนิคที่จำเป็นต่อการทำงานไปด้วย ขณะที่ช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการพัฒนาทักษะด้านอารมณ์และสังคมคือวัยเด็กตอนต้น และเริ่มพัฒนาต่อในช่วงวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ตอนต้นผ่านทางประสบการณ์ใหม่ๆ ที่ได้รับ

กสศ. ความเสมอภาคทางการศึกษา สพฐ. ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา นักเรียนยากจน การศึกษาไทย ปัญหาการศีกษา เงินอุดหนุนนักเรียนยากจน

วิจัยนวัตกรรม วิจัยชั้นเรียน เรียนผ่านสื่อ

ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเป็นปัญหาที่อยู่กับสังคมไทยมาอย่างยาวนาน ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา และแม้ว่าจะมีการพยายามออกนโยบายต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว แต่ก็ยังไม่สามารถแก้ไขได้อย่างเด็ดขาด โดยนโยบายลดปัญหาในสถานศึกษา และแนวทางการแก้ไขความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา มีดังนี้ 

การประชุมวิชาการนานาชาติเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษาปวงชนเพื่อการศึกษา

ในขณะเดียวกัน ผู้ที่มีโอกาสทางการศึกษาที่ดีกว่า หรือเป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพ กลับแสวงหาโอกาสในการทำงานในองค์กรต่างประเทศ เนื่องจากมีโอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และความก้าวหน้าทางอาชีพที่สูงมากกว่าในประเทศนั่นเอง

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *